โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม
ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์และนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ที่ได้รับรางวัล Grand Prize 2 รางวัล และรางวัลต่าง ๆ รวม 22 รางวัล จากการประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมระดับนานาชาติ “12th World Invention Creativity Olympic 2023” จัดโดย Korea University Invention Association (KUIA) and World Invention Intellectual Property Association (WIIPA) เมื่อวันที่ 27 – 29 กรกฎาคม 2566 ณ SETEC กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี โดยมีดังรายการดังต่อไปนี้
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “OxyRock”
รางวัลที่ได้รับ
– รางวัล Grand Prize
– รางวัลเหรียญทอง
– รางวัล Special Award
คิดค้นร่วมกันโดย
– อาจารย์จีระศักดิ์ จิตรโรจนรักษ์ (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
– Mr.Robert Armstrong (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
– นายปรินทร แจ้งทวี (นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
– ศาสตราจารย์ ดร.สนอง เอกสิทธิ์ (อาจารย์ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “OxyRock” เป็นนวัตกรรมที่นำเส้นพลาสติกที่ทำมาจากเศษพลาสติก (PLA) ที่เหลือทิ้งจากการปริ้นส์งาน 3D รวมกับทรายประกายมุกที่ผลิตจากเปลือกหอยแมลงภู่เหลือทิ้ง มาขึ้นรูปทรงตามที่ต้องการแล้วเคลือบด้วยไทเทเนี่ยมที่ผสมกับทรายประกายมุกอีกครั้ง ทำให้รูปทรงดังกล่าวมีคุณสมบัติในการดูดซับกลิ่นไม่พึงประสงค์ ช่วยในการฟอกอากาศ
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “SAS Smart Alert Sensor”
รางวัลที่ได้รับ
– รางวัล Grand Prize
– รางวัลเหรียญทอง
คิดค้นร่วมกันโดย
– ด.ญ. รวินท์ ชูจารุกุล (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/4)
– ด.ช. ภาสันต์ สันพนวัฒน์ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/6)
– ด.ญ. แทนหทัย จิตธรรม (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/3)
– ด.ช. ภาวิน รุ่งโรจน์ชัยพร (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/5)
ผลงานนวัตกรรม “SAS Smart Alert Sensor” เป็นนวัตกรรมช่วยชีวิตที่ออกแบบให้เป็นของตกแต่งบ้าน ภายในติดตั้งกล้องวงจรปิด และเซนเซอร์ขั้นสูงที่สามารถตรวจจับเหตุอันตราย ได้แก่ แผ่นดินไหว เพลิงไหม้ แก๊ซรั่ว ขโมย มลพิษทางอากาศ เช่น PM2.5 VOCs และมลพิษทางเสียง โดยข้อมูลจะแจ้งเตือนผ่านแอพบนสมาร์ตโฟนได้อัตโนมัติ เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถตอบสนองได้อย่างทันท่วงที
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “Happiness of Color”
รางวัลที่ได้รับ
– รางวัลเหรียญทอง
– รางวัล Special Award จาก Indonesian Invention and Innovation Promotion Association (INNOPA)
คิดค้นโดย
อาจารย์สุภิญญา สมทา (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “CuDough”
รางวัลที่ได้รับ
– รางวัลเหรียญทอง
– รางวัล Special Award จาก Indonesian Invention and Innovation Promotion Association (INNOPA)
คิดค้นร่วมกันโดย
– อาจารย์น้ำผึ้ง ทวีพรปฐมกุล (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
– อาจารย์จีระศักดิ์ จิตรโรจนรักษ์ (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
– Mr.Robert Armstrong (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
– นายปรินทร แจ้งทวี (นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “WAJA”
รางวัลที่ได้รับ รางวัลเหรียญทอง
คิดค้นร่วมกันโดย
– อาจารย์ ดร.พรศิริ สันทัดรบ (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
– อาจารย์จีระศักดิ์ จิตรโรจนรักษ์ (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
– Mr.Robert Armstrong (อาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “Happy Pill Dispenser”
รางวัลที่ได้รับ
– รางวัลเหรียญทอง
– Special Award จาก World Invention Intellectual Property Association (WIIPA)
คิดค้นร่วมกันโดย
– ด.ช. ณธันย์ โฉลกพันธ์รัตน์ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.5/4)
– ด.ช. ณกันต์ โฉลกพันธ์รัตน์ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.3/4)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “Handy Dandy Mat”
รางวัลที่ได้รับ รางวัลเหรียญทอง
คิดค้นร่วมกันโดย
– ด.ญ. ภัสญา ฤกษ์พิทักษ์พาณิช (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/7)
– ด.ญ. อรณิชชา พิบูลย์รัตนกิจ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/7)
– ด.ญ. สุพิชญา พรวิลาศสิริ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/7)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “O-NE CASE”
รางวัลที่ได้รับ รางวัลเหรียญทอง
คิดค้นร่วมกันโดย
– ด.ญ. สิรรินทร์ ประสิทธิ์ดำรง (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.5/7)
– ด.ช. ธนินกิตติ์ ประสิทธิ์ดำรง (โรงเรียนสาธิตปทุมวัน)
– ด.ช. ปรานต์ อุดมแสวงทรัพย์ (โรงเรียนนานาชาติโชรส์เบอรี)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “5-in-1 Page Turner”
รางวัลที่ได้รับ รางวัลเหรียญเงิน
คิดค้นร่วมกันโดย
– ด.ญ. ปัณณภรณ์ ทองเจริญ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/1)
– ด.ญ. ณิชชา วิทูราภรณ์ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ป.6/4)
– ด.ญ. ณทักษพร อภิเกษมสันติ์ (โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์)
– ด.ญ. อลิสา ครามาเชค (โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย)
นอกจากนี้ยังมีนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม ที่สามารถคว้ารางวัลต่าง ๆ มาได้อีกหลายรางวัล ได้แก่
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “Specialized Cleaning and Residue Unveiling Bot”
รางวัลที่ได้รับ
– รางวัลเหรียญทอง
– รางวัล Special Award จาก Research Institute of Creative Education และผลงาน “Germ Guard Goo”
คิดค้นร่วมกันโดย
– น.ส. วริณศยา เสรีภาพงศ์ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม)
– น.ส. พิชญ์ภณิตา เมธาสุริยะพงษ์ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม)
– น.ส. พิมพ์พิศา พิศาลบุตร (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม)
– นายแทนธรรม จิตธรรม (CATS Academy Boston, USA)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “Ice Seperated”
รางวัลที่ได้รับ
– รางวัลเหรียญทอง และ Special Award จาก World Invention Intellectual Property Association (WIIPA)
คิดค้นโดย น.ส. ชมฉัน สิทธิกิจ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม)
ผลงานนวัตกรรม ชื่อ “Metal Hub”
รางวัลที่ได้รับ รางวัลเหรียญทอง
คิดค้นโดย น.ส. ภิญญดา ธัญญวรรณ์ (นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายมัธยม)